<<This message will be removed when you register >>


งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น รหัสวิชา 2100-1003


1. ข้อใดคือลักษณะของการถูกไฟฟ้าดูด

a) กระแสไฟฟ้ารั่วออกจากระบบ
b) กระแสไฟฟ้ารั่วลงโครงอุปกรณ์
c) กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายมนุษย์ลงสู่ดิน
d) สายไลน์กับสายนิวตรอนสัมผัสกัน
e) ถูกทุกข้อ
2. ข้อใดไม่ใช่วิธีป้องกันอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า

a) สวมถุงมือยางระหว่างปฏิบัติงาน
b) ใช้มือดึงตัวผู้โดนไฟดูดอย่างรวดเร็ว
c) ต่อสายดินอุปกรณ์ไฟฟ้า
d) สวมรองเท้ายางระหว่างปฏิบัติงาน
e) ตัดวงจรไฟฟ้าก่อนปฏิบัติงาน
3. ข้อใดไม่ใช่หลักความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

a) ใช้กระดาษพลางหลอดไฟ
b) ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเครื่องมือก่อนใช้งานทุกครั้ง
c) ตัดวงจรไฟฟ้าก่อนปฏิบัติงาน
d) เขียนป้ายแจ้งเตือนทุกครั้งก่อนปฏิบัติงาน
e) ปฐมพยาบาลเบื้องต้นผู้ถูกไฟฟ้าดูดระหว่างส่งโรงพยาบาล
4. ข้อใดคือ ไม่ใช่ การปฐมพยาบาลผู้ได้รับอันตรายจากกระแสไฟฟ้า

a) วางผู้ป่วยให้นอนหงายแล้วช้อนคอให้แหงนขึ้น
b) นำสิ่งอุดตันออกจากช่องปาก
c) ปลดแหล่งจ่ายไฟฟ้าทันที
d) ฝายปอดผู้ป่วย
e) หนวดหัวใจ
5. ข้อใด หมายถึงเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

a) Generator
b) Alternator
c) Multi meter
d) Motor
e) Dynamo
6. หมายถึงสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าในข้อใด



a) เครื่องวัดแรงดันไฟฟ้า
b) เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
c) เซลล์ไฟฟ้า
d) มอเตอร์ไฟฟ้า
e) หม้อแปลงไฟฟ้า
7. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับค่าความจุของแบตเตอรี่

a) จำนวนขั้ว
b) กระแสที่จ่ายออก
c) อุณหภูมิ
d) เวลาในการจ่ายกระแส
e) ขนาดของแผ่นธาตุ
8. ข้อใดจัดเป็นองค์ประกอบหลักของวงจรไฟฟ้า

a) แผงวงจร
b) ตัวนำ
c) โวลท์มิเตอร์
d) โคมไฟฟ้า
e) โอห์มมิเตอร์
9. นำความต้านทาน 500Ω และ 1.2KΩ มาต่ออนุกรมกัน ค่าความต้านรวมในวงจรมีค่าเท่าไร

a) 500 Ω
b) 800 Ω
c) 1.2 K Ω
d) 1.7 K Ω
e) 1,520 Ω
10. การต่อวงจรปลั๊กตามบ้านพักอาศัย ต่อวงจรแบบใด

a) อนุกรม
b) ผสม
c) อันดับ
d) ขนาน
e) ต่อตรง
11. วงจรในข้อใดไม่จัดเป็นวงจรผสม

a) วงจรเครื่องรับโทรทัศน์
b) วงจรคอมพิวเตอร์
c) วงจรแสงสว่าง
d) วงจรเครื่องขยายเสียง
e) วงจรโทรศัพท์มือถือ
12. ข้อใดเป็นส่วนผสมของฟิวส์

a) ตะกั่วผสมทองแดง
b) ตะกั่วผสมดีบุก
c) ตะกั่วผสมเงิน
d) ตะกั่วผสมอะลูมิเนียม
e) ตะกั่วผสมเหล็ก
13. ฟิวส์ทำหน้าที่อะไรในวงจรไฟฟ้า

a) ตัดวงจรไฟฟ้าเมื่อมีกระแสไฟฟ้าเกินในวงจร
b) ตัดวงจรไฟฟ้าเมื่อมีกระแสไฟฟ้าในวงจรต่ำ
c) ตัดวงจรไฟฟ้าเมื่อเกิดไฟดูด
d) รักษาระดับแรงดันไฟฟ้า
e) ป้องกันไฟตก
14. ข้อใดไม่ใช่ปลั๊กฟิวส์ที่นิยมใช้ตามอาคารบ้านเรือน

a) ปลั๊กฟิวส์แบบมาตรฐาน
b) ปลั๊กฟิวส์แบบเอส
c) ปลั๊กฟิวส์แบบเสียบ
d) ปลั๊กฟิวส์แบบแอล
e) ปลั๊กฟิวส์แบบขาดช้า
15. ข้อใดกล่าวถูกต้องในการเลือกใช้ฟิวส์

a) กระแสฟิวส์ที่เลือกอย่างน้อยต้องเท่ากับกระแสปกติในวงจรหรือต่ำกว่า
b) พิกัดแรงดันของฟิวส์จำเป็นต้องเท่ากับพิกัดแรงดันของสวิทซ์
c) คุณลักษณะในการหลอมละลายของฟิวส์เป็นตัวบอกความช้าในการละลายตัวเองเมื่อมันโอเวอร์โหลด
d) ฟิวส์แบบหลอมละลายเร็วจะใช้กับเครื่องมือวัด
e) ต้องสามารถป้องกันตัวนำทุกสายเส้นไฟยกเว้นการต่อลงดิน
16. ปลั๊กฟิวส์ที่ใช้ในอาคาร บ้านพักอาศัย มีขนาดเท่าใด

a) 0-30 แอมแปร์
b) 0-32 แอมแปร์
c) 0-35 แอมแปร์
d) 0-38 แอมแปร์
e) 0-45 แอมแปร์
17. ข้อใดทำหน้าหลอมละลายตัวเองเมื่อมีกระแสไฟฟ้าเกินที่ตั้งไว้

a) ปลั๊กฟิวส์
b) เบลดฟิวส์
c) โอเวอร์โหลดฟิวส์
d) เซอร์กิตเบรกเกอร์
e) ทุกข้อถูกต้อง
18. คุณสมบัติของมอเตอร์ไฟฟ้าตรงกับข้อใด

a) เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานจลน์
b) เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล
c) เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานความร้อน
d) เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานแสงอาทิตย์
e) เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานลม
19. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์พื้นฐานในวงจรควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส

a) แมคเนติคคอนเนคเตอร์
b) สวิทซ์ปุ่มกด
c) หลอดสัญญาณ
d) ฟิวส์
e) เซอร์กิตเบรกเกอร์
20. ถ้าต้องการที่จะเปิดหรือปิดมอเตอร์ปั้มน้ำแบบอัตโนมัติจะใช้อุปกรณ์อะไร

a) สวิทซ์ทางเดียว
b) สวิทซ์ลูกลอย
c) สวิทซ์สองทาง
d) โอเวอร์โหลดรีเลย์
e) เซอร์กิตเบรกเกอร์
21. ข้อใดเป็นวิธีการควบคุมมอเตอร์ให้ทำงาน

a) Sound Control
b) Engineer Control
c) Volume Control
d) Direction Control
e) Circuit Control
22. การควบคุมความเร็วของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงใช้วิธีการในข้อใด

a) ควบคุมกระแสที่ผ่านขดลวดอาเมเจอร์
b) ปรับแรงดันที่จ่ายให้มอเตอร์
c) ควบคุมการหมุน
d) การสลับทิศทางการหมุน
e) ความร้อนที่เกิดจากการทำงาน
23. ความหมายของ “มัลติมิเตอร์” คือข้อใด

a) วัดแรงดันไฟฟ้าได้ทั้งแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงและแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ
b) วัดกระแสไฟฟ้าได้ทั้งกระแสตรงและกระแสสลับ
c) วัดค่าความต้านทาน,วัดค่าความจุ,วัดค่าอัตราการขยาย
d) ข้อ ก,ข ,ค ถูกต้อง
e) เป็นเครื่องวัดปริมาณไฟฟ้าที่วัดได้หลากหลายภายในตัวเดียว
24. นำมัลติมิเตอร์ ไปใช้วัดแรงดันไฟฟ้าข้อใดไม่ถูกต้อง

a) เลือกโหมดการวัดแรงดันไฟฟ้า
b) ต่อวัดแบบขนานกับโหลดที่ต้องการรู้ค่า
c) ต่อขั้วสายวัดให้ถูกต้องเมื่อวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง
d) ตั้งย่านการวัดให้สูงกว่าค่าที่จะวัดเสมอ
e) เลือกมัลติมิเตอร์ ที่เหมาะสมกับการงานที่จะใช้แต่ละงาน
25. การวัดค่าความต้านอย่างเป็นขั้นตอน หมายถึงข้อใด

a) เลือกย่าน,ปรับ Zero Ohm ,วัดค่า,ปรับ Zero Ohm ทุกครั้งหลังจากเปลี่ยนย่านการวัด
b) ปรับ Zero Ohm, เลือกย่าน,วัดค่า
c) เลือกย่าน,ปรับ Zero Ohm ,วัดค่าห้ามสัมผัสปลายสายวัด,ปรับ Zero Ohm ทุกครั้งหลังจากเปลี่ยนย่านการวัด
d) ปรับ Zero Ohm, เลือกย่าน,วัดค่าห้ามสัมผัสปลายสายวัด,ปรับ Zero Ohm ทุกครั้งหลังจากเปลี่ยนย่านการวัด
e) ยังไม่มีคำตอบที่สมบูรณ์
26. ข้อใด ไม่ใช่สาเหตุความผิดพลาดจากการใช้เครื่องวัด

a) วางเครื่องวัดไม่ถูกต้องขณะทำการวัด
b) อ่านค่าขณะที่เข็มไม่ทาบกับเงาบนหน้าปัด
c) พื้นที่ทำการวัดมีอุณหภูมิสูง
d) เครื่องวัดมีความคลาดเคลื่อน 3 %
e) เข็มชี้เริ่มต้นไม่ตรงกับเลขศูนย์
27. จากรูป ใช้ตอบคำถามข้อ 27 - 28
นำมัลติมิเตอร์ วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง ตั้งย่านการวัด 1000 V ค่าที่ได้ตรงกับข้อใด



a) เลือกใช้สเกลที่ 2 ใช้ตัวเลขกำกับสเกล 0- 10 ค่าที่ได้ 900V DC
b) เลือกใช้สเกลที่ 2 ใช้ตัวเลขกำกับสเกล 0- 50 ค่าที่ได้ 900V DC
c) เลือกใช้สเกลที่ 2 ใช้ตัวเลขกำกับสเกล 0- 250 ค่าที่ได้ 900V DC
d) เลือกใช้สเกลที่ 3 ใช้ตัวเลขกำกับสเกล 0- 10 ค่าที่ได้ 880V DC
e) เลือกใช้สเกลที่ 3 ใช้ตัวเลขกำกับสเกล 0- 50 ค่าที่ได้ 880V DC
28. นำมัลติมิเตอร์ วัดค่าความต้านทาน ตั้งย่านการวัด R X 1K ค่าที่ได้ตรงกับข้อใด

a) 2 โอห์ม
b) 20 โอห์ม
c) 200 โอห์ม
d) 2,000 โอห์ม
e) 20,000 โอห์ม
29. หัวแร้งขนาดกำลังวัตต์เท่าใดที่เหมาะสำหรับการบัดกรีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ลงบนแผ่นปริ้นซ์

a) ขนาดกำลัง 15 วัตต์
b) ขนาดกำลัง 30 วัตต์
c) ขนาดกำลัง 80 วัตต์
d) ขนาดกำลัง 100 วัตต์
e) ถูกทุกข้อ
30. ส่วนผสมระหว่างดีบุกและตะกั่วของลวดบัดกรีที่ใช้สำหรับงานอิเล็กทรอนิกส์มีส่วนผสมตามข้อใด

a) ดีบุก 40% ตะกั่ว 60%
b) ดีบุก 60% ตะกั่ว 40%
c) ดีบุก 50% ตะกั่ว 50%
d) ดีบุก 5% ตะกั่ว 95%
e) ขึ้นอยู่กับริษัทผู้ผลิต
31. ข้อใดเป็นสาเหตุทำให้รอยบัดกรี ไม่สวยงาม

a) ให้ความร้อนต่ำและสูงเกินไป
b) ใช้ฟลั๊กมากเกินไป
c) แผ่นปริ้นสกปรก
d) เติมตะกั่วมากเกินไป
e) ถูกทุกคำตอบ
32. การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ควรมีความรู้พื้นฐานในเรื่องใด

a) ควรรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ และอ่านค่าอุปกรณ์
b) หลักการและทักษะบัดกรี
c) ลำดับการประกอบอุปกรณ์แต่ละตัว
d) การทำความสะอาดแผ่นวงจร
e) ถูกทุกข้อ
33. ข้อใดคือความหมายของการบัดกรีในงานอิเล็กทรอนิกส์

a) คือการเชื่อมวัสดุเข้าด้วยกัน
b) คือการต่อวงจรเข้าด้วยกัน
c) คือการนำวัสดุมารวมกัน
d) คือการเชื่อมต่อโลหะเข้าด้วยกันโดยใช้วัสดุตัวกลางเป็นตัวเชื่อมประสาน
e) ไม่มีข้อใดถูก
34. รอยบัดกรีที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร

a) รอยเชื่อมต่อต้องแข็งแรง
b) รอยเชื่อมต่อต้องสะอาดเป็นมันเงางามไม่มีสีดำปรากฏอยู่
c) นำกระแสไฟฟ้าได้ดี
d) อุปกรณ์กับแผ่นปริ้นซ์ยึดเกาะกันอย่างแน่นหนา
e) ถูกทุกข้อ
This is more feedback!
This is the feedback!



Back to Top